รายงานผลการประเมินตนเอง
(Self Assessment Report : SAR)
ปีการศึกษา 2562
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์
อาชีวศึกษาจังหวัดศรีสะเกษ
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
ข้อมูลแก้ไขเมื่อ เวลา
ส่วนที่
1
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร
การพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาในรอบปีการศึกษาที่จัดทำรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา
ประกอบด้วยการสรุปสาระสำคัญ ดังนี้
1. การพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
1. ผลสัมฤทธิ์
ระดับข้อประเมิน
1.1.1 ข้อประเมินที่อยู่ในระดับคุณภาพยอดเยี่ยมจำนวน 18 ข้อ
1.1.2 ข้อประเมินที่อยู่ในระดับคุณภาพดีเลิศจำนวน 5 ข้อ
1.1.3 ข้อประเมินที่อยู่ในระดับคุณภาพดีจำนวน 2 ข้อ
1.1.4 ข้อประเมินที่อยู่ในระดับคุณภาพกำลังพัฒนาจำนวน 1 ข้อ
1.2 จุดเด่น
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ดำเนินการจัดการศึกษาอาชีวศึกษาตามนโยบาย สอศ. อย่างมีระบบตามแผนปฎิบัติการของสถานศึกษา และจัดการให้มีคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2562 ส่งผลให้บรรลุเป้าหมายตามเป้าหมายที่กำหนด ดังนี้
1.2.1 ผู้เรียนสำเร็จการศึกษาตามเป้าหมาย
1.2.2 ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์
1.2.3 ผู้เรียนมีสมรรถนะหลักและมรรถนะทั่วไป
1.2.4 การมีงานทำและการศึกษาต่อของผู้สำเร็จการศึกษา
1.2.5 พัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ
1.2.6 การบริหารจัดการแบบข้อมูลสารสนเทศ
1.2.7 การระดมทรัพยากรเพื่อการจัดการเรียนการสอน
1.2.8 การจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี
1..2.9 การบริการชุมชนและจิตอาสา
1.2.10 การพัฒนาบุคลากรให้มีลักษณะเป็นเลิศเฉพาะทาง
1.2.11 การพัฒนาสถานศึกษาเป็นแหล่งเรียนรู้
1.2.12 การสร้างโอกาศตวามเสมอภาคและความเท่าเทียมในด้านการศึกษา
1.2.13 การจัดการสถานศึกษาเพื่อคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
1.2.14 การเพิ่มประสิทธิภาพในระบบบริหารจัดการ
1.3 จุดที่ควรพัฒนา
1.3.1 การทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติด้านอาชีวศึกษา ( V-Net)
1.3.2 ผู้เรียนสมรรถนะในการเป็นผู้ประกอบการอาชีพอิสระ
1.4 ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา
1.4.1 ส่งเสริมระบบดูแลผู้เรียน
1.4.2 ส่งเสริมการประกอบอาชีพอิสระในกลุ่มผู้เีรียนอาชีวศึกษา
1.4.3 ส่งเสริมการสร้างอาชีพสร้างรายได้ด้วยธุรกิจใหม่(Startup)
1.4.4 ส่งเสริมการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตรกรรมเพิ่มมูลค่าสินค้า และต่อยอดสินค้าเศาษฐกิจ
2. การสร้างความเชื่อมั่นให้แก่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
การสร้างความเชื่อมั่นให้แก่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องและสถานประกอบการของวิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ ได้ดำเนินการโครงการเพื่อวัตถุประสงค์ ดังนี้
2.1 โครงการเชิดชูเกียรติสถานประกอบการและครูฝึกในสถานประกอบการ
2.2 โครงการปฐมนิเทศ นักเรียน นักศึกษา และประชุมผู้ปกครองนักเรียน นักศึกษาก่อนออกฝึกประสบการณ์/ วิชาชีพ
2.3 โครงการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีร่วมกับสถานประกอบการ
2.4 โครงการนิเทศ นักเรียน นักศึกษา อาชีวศึกษาระบบทวิภาคี
3. การจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่บรรลุเป้าประสงค์ของหน่วยงานต้นสังกัด
การจัดการสถานศึกของสถานศึกษาที่บรรลุเป้าประสงค์ วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ได้ดำเนินการโครงการสถานศึกษาคุณธรรม ตามระบบกระบวนการ และบรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการโดยได้รับรางวัลสถานศึกษาคุณธรรมน้อมนำศาสตร์พระราชา พัฒนาวิทยาลัยวิถีพุทธยอดเยี่ยม จากมหาวิทยาลยจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัยร่วมกับสำนักงานคะกรรมการการอาชีวศึกษษ
4. การพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาที่เป็นแบบอย่างที่ดี
(Best Practice)
4. การพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาที่เป็นแบบอย่างที่ดี (Best Practice)
ชื่อโครงการ อบรมการเขียนแผรธุรกิจส่งเสริมการประกอบอาชีพอิสระในกลุ่มผู้เรียนอาชีวศึกษา ประจำปีการศึกษา 2561
4.1 ความเป็นมาและความสำคัญ
ด้วยรัฐบาลมีนโยบายส่งเสริมให้เกิอผู้ประกอบการรายใหม่เพิ่มขึ้นทั้งในขนาดกลางและขนาดย่อมเพื่อเป็นรากฐานสำคัญทางเศรษฐกิจ อันจะนำไปสู่การพัฒนาด้านต่างๆ ของประเทศโดยเร่งรัดการดำเนินการที่เกี่ยวเนื่่อง ทั้งในองค์กรภาครัฐและเอกชน เพื่อขับเคลื่อนนโยบายให้เป็นรูปธรรม อาทิ สตาร์ทอัพไทยแลนด์ ซึ่งเป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมผู้ประกอบการรายใหม่ได้นำเสนอนวัตกรรมขิงผลิตภัณฑ์ที่มีความน่าสนใจและมีความเป็นไปได้ในการต่อยอดไปสู่เชิงพาณิชย์อย่างเต็มรูปแบบทั้งนี้คณะกรรมการนโยบายและพัฒนาการศึกษาได้ให้ความสำคัญกับการส่งเสริมให้ผู้ที่สำเร็จการศึกษามีความรู้ด้านธุรกิจสามารถออกไปเป็นผู้ประกอบการที่ตั้งตัวได้โดยไม่จำเป็นต้องเข้าสู่ภาคแรงงานเพียงอย่างเดียว
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาเป็นหน่วยงานหลักในการจัดการศึกษาและฝึกอบรมวิชาชีพ เพื่อผลิตและพัฒนากำลังคนทั้งระดับกึ่งฝีมือ ระดับฝีมือ และระดับเทคนิค และระดับเทคโนโลยีในทุกสาขาวิชาอย่างมีคุณภาพ และมาตรฐานสอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อมและความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสนองความต้องการของตลาดแรงงานและการประกอบอาชีพอิสระ โดยมีการจัดทำแผน โครงการ และกิจกรรมพัมนาการศึกษาวิชาชีพด้วยการพัฒนาทักษะพื้นฐานของเด็กอาชีวะให้มีความรู้ด้านการจัดการธุรกิจอย่างแท้จริง ตลอดจนพัฒนาทักษะด้านความคิดสร้างสรรค์ (Creative thinking) ให้กับผู้เรียน สามารถประกอบธุรกิจได้อย่างเป็นรูปธรรม
4.2 วัตถุประสงค์
4.2.1 พัฒนาศักยภาพและสร้างแรงจูงใจหรือทางเลือกในการประกอบอาชีพอิสระ
4.2.2 สนับสนุน สร้างโอกาสให้ผู้เรียนอาชีวศึกษา ได้มีธุรกิจเป็นของตนเอง
4.2.3 เตรียมความพร้อมให้แก่ผู้เรียนอาชีวศึกษาที่มีธุรกิจ เพื่อสืบทอดกิจการ
4.2.4 เสริมสร้างศักยภาพครูให้มีองค์ความรู้ ด้านการเป็นผู้ประกอบการและการจัดการศึกษาด้านธุรกิจ
4.3 กรอบแนวคิด (ถ้ามี)
-
4.4 วิธีการดำเนินงาน
ขั้นตอนการวางแผน (Plan)
4.4.1 แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน
4.4.2 จัดเตรียมหลักสูตรในการฝึกอบรม
4.4.3 จัดหาวิทยากรในการฝึกอบรม
ขั้นการดำเนินงาน (Implementation)
4.4.4 ประสานงานผู้ที่เกี่ยวข้อง
4.4.5 จัดเตรียมสถานที่
4.4.6 ดำเนินงานตามโครงการ
ขั้นการประเมินผล (Evaluation)
4.4.7 แจกแบบสอบถามความพึงพอใจของโครงการ
4.4.8 ดำเนินการประเมินผลโครงการ
4.4.9 ติดตามข้อมูลผู้ที่เข้าร่วมโครงการฯ ภายใน 1 ปี หลังสำเร็จการศึกษา
4.5 ผลการดำเนินงาน
4.5.1 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เกี่ยวกับการประกอบธุรกิจและสามารถประกอบธุรกิจ
4.5.2 ผู้เข้าร่วมโครงการฯ สามารถเขียนแผนธุรกิจได้
4.6 ประโยชน์ที่ได้รับ
4.6.1 นักเรียน นักศึกษา ได้รับความรู้และทักษะจากการฟังบรรยายและฝึกปฏิบัติจริง
4.6.2 นักเรียน นักศึกษา นำความรู้และทักษะที่ได้รับไปใช้ในการเริ่มต้นเป็นผู้ประกอบการรายใหม่ได้
4.6.3 ครูที่ปรึกษา นำความรู้และทักษะที่ได้รับไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน
ส่วนที่
2
ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา
ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา
ประกอบด้วยสาระที่สำคัญ ดังนี้
2.1
ข้อมูลพื้นเกี่ยวกับสถานศึกษา
ที่อยู่
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ 82 ม.1 ตำบล จานใหญ่ อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ 33110
โทรศัพท์ 045-811-053 โทรสาร 045-811-053
E-mail ktl_sisaket@hotmail.com Website www.ktl.ac.th
ประวัติสถานศึกษา
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ เดิมเป็น วิทยาลัยการอาชีพกันทรลักษ์ ได้จัดตั้งขึ้นตามนโยบายรัฐบาลเพื่อขยายโอกาสทางการศึกษาวิชาชีพสู่ชนบท จังหวัดศรีสะเกษ ได้ทำหนังสือถึงกรมอาชีวศึกษา เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2534 เพื่อขอสนับสนุนในการจัดตั้งวิทยาลัยการอาชีพกันทรลักษ์ ระดับอำเภอ และในช่วงดังกล่าว นายพิสุทธิ์ บุญเจริญ ศึกษาธิการอำเภอกันทรลักษ์ ได้มาตรวจเยี่ยม โรงเรียนบ้านจานทองกวาววิทยาและได้ปรึกษาหารือในการหาที่ดินสำหรับสร้าง วิทยาลัยการอาชีพกันทรลักษ์ โดย นายอำไพ บุญเริ่ม ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านจานทองกวาววิทยา ได้เสนอที่ดินซึ่งอยู่ตรงกันข้ามกับโรงเรียน บ้านจานทองกวาววิทยา เป็นที่ดินสาธารณประโยชน์มีเนื้อที่ประมาณ 100 กว่าไร่ มีการคมนาคมสะดวกและประชากรโดยรอบอาศัยอยู่หนาแน่น ต่อมาในวันที่ 22 ตุลาคม 2534 นายอำเภอกันทรลักษ์ นายสุรินทร์ พันพฤกษ์ ได้พิจารณาทำเรื่องเสนอขอใช้ที่ดินสาธารณประโยชน์ดังกล่าวไปยังผู้ว่าราชการจังหวัดศรีสะเกษพิจารณาอนุมัติ โดยมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร นายจำนงค์ โพธิสาโร ได้มีบทบาทในการร่วมติดต่อประสานงานการจัดตั้ง วิทยาลัยการอาชีพกันทรลักษ์ จนได้รับความสำเร็จ ในการนี้อธิบดีกรมอาชีวศึกษา นายบุญเทียม เจริญยิ่ง ให้ความเห็นชอบจึงได้มีคำสั่งกรมอาชีวศึกษา ที่ 2921/2535 ลงวันที่ 12 ตุลาคม 2535 แต่งตั้งให้ นายไพฑูรย์ ธนสีลังกูร ผู้ช่วยผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคนิคบุรีรัมย์ เป็นผู้ประสานในการจัดตั้งวิทยาลัยการอาชีพกันทรลักษ์ เมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2537 กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศจัดตั้งวิทยาลัยการอาชีพกันทรลักษ์ พร้อมจัดสรรงบประมาณจำนวน 28.7 ล้านบาท เพื่อดำเนินการก่อสร้าง วิทยาลัยการอาชีพกันทรลักษ์ ได้ทำการเปิดสอน รับนักเรียนนักศึกษารุ่นแรก ปีการศึกษา 2539 ใน 4 สาขาวิชาได้แก่ สาขาวิชาช่างยนต์ สาขาวิชาช่างไฟฟ้า สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาพณิชยการ ต่อมาเมื่อวันที่ 7 มิถุนายน 2539 วิทยาลัยการอาชีพกันทรลักษ์ ได้รับเกียรติจาก ฯพณฯ นายบรรหาร ศิลปอาชา นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย เดินทางมาเป็นประธานพิธีเปิดวิทยาลัยการอาชีพกันทรลักษ์ อย่างเป็นทางการ
เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2555 นายวาสิทธิ์ พวงสวัสดิ์ ผู้อำนวยการวิทยาลัยการอาชีพกันทรลักษ์ ได้ดำเนินการทำหนังสือขออนุมัติเปลี่ยนชื่อสถานศึกษา ต่อมาในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2555 ได้รับประกาศจากกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องการเปลี่ยนชื่อสถานศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา วิทยาลัยการอาชีพกันทรลักษ์ เปลี่ยนชื่อเป็นวิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ ประกาศ ณ วันที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 ลงนามโดย นายพงศ์เทพ เทพกาญจนา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และในวันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2556 นางศิริพร กิจเกื้อกูล รองปลัดกระทรวงศึกษาธิการได้เดินทางมาเปิดป้ายวิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์อย่างเป็นทางการ
ปัจจุบัน นายโสภา มะเครือสี ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการวิทยาลัยฯ มีบุคลากรทั้งสิ้น จำนวน 113 คน นักเรียน นักศึกษาระดับ ปวช. ปวส. และนักศึกษาทวิศึกษา จำนวน 3,095 คน
การจัดการศึกษา
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ ได้จัดการศึกษาวิชาชีพภาคปกติ และ การอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ดังนี้
1. หลักสูตรระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)
รับนักเรียนจากผู้สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 หรือเทียบเท่า เข้าศึกษาต่อหลักสูตร 3 ปี ดังนี้
ประเภทวิชาอุตสาหกรรม
1. สาขาวิชาเครื่องกล
- สาขางานยานยนต์
- สาขางานเครื่องกลอุตสาหกรรม
- สาขางานตัวถังและสีรถยนต์
2. สาขาวิชาโลหะการ
- สาขางานเชื่อมโลหะ
- สาขางานเทคนิคเชื่อมโลหะ
3. สาขาวิชาช่างกลโรงงาน
- สาขางานเครื่องมือกล
- สาขางานเทคนิคการผลิต
4. สาขาวิชางานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
- สาขางานไฟฟ้ากำลัง
- สาขางานอิเล็กทรอนิกส์
5. สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์
- สาขางานเทคนิคคอมพิวเตอร์
6. สาขาวิชาก่อสร้าง
- สาขางานก่อสร้าง
ประเภทวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
1. สาขาวิชาการโรงแรมและการท่องเที่ยว
- สาขางานการโรงแรม
ประเภทวิชาพาณิชยกรรม
1. สาขาวิชาพณิชยการ
- สาขางานการบัญชี
- สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
- สาขางานการตลาด
2. หลักสูตรระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)
รับนักเรียนจากผู้สำเร็จการศึกษาระดับ ปวช. , มัธยมศึกษาปีที่ 6 หรือเทียบเท่าเข้าศึกษาระยะเวลา 2 ปี ดังนี้
ประเภทวิชาอุตสาหกรรม
1. สาขาวิชาเครื่องกล
- สาขางานเทคนิคยานยนต์
- สาขางานเทคนิคเครื่องกลอุตสาหกรรม
2. สาขาวิชาเทคนิคโลหะ
- สาขางานเทคนิคการเชื่อมโลหะ
3. สาขาวิชาช่างกลโรงงาน
- สาขางานเทคนิคการผลิต
4. สาขาวิชาไฟฟ้ากำลัง
- สาขางานเทคนิคเครื่องกลไฟฟ้า
5. สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์
- สาขางานเทคนิคคอมพิวเตอร์
6. สาขาวิชาไฟฟ้ากำลัง
- สาขางานเทคนิคเครื่องกลไฟฟ้า
ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ
1. สาขาวิชาการบัญชี
- สาขางานการบัญชี
2. สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
- สาขาการพัฒนาเว็บเพจ
3. สาขาวิชาการตลาด
- สาขางานการตลาด
3. หลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น
3.1 การฝึกอบรมหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น 30 ชั่วโมง
- วิชาช่างเชื่อมผลิตภัณฑ์ (งานการทำเหล็กดัด)
- วิชาช่างซ่อมบำรุงรักษาอุปกรณ์ไฟฟ้าภายในบ้าน
3.2 การฝึกอบรมหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น 75 ชั่วโมง
3.2.1 ประเภทวิชาอุตสาหกรรม
- วิชาช่างติดตั้งไฟฟ้าในอาคาร
- วิชาช่างซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน
- วิชางานเครื่องยนต์เล็ก
- วิชาบริการจักรยานยนต์
- วิชาช่างประกอบตู้ลำโพงกระจายเสียงกลางแจ้ง
- วิชาช่างประกอบเครื่องขยายเสียงกำลังสูง
- วิชาช่างเชื่อมไฟฟ้าเบื้องต้น
- วิชาช่างเชื่อมไฟฟ้างานแผ่น
3.3 การฝึกอบรมหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น 90 ชั่วโมง
- ซอยผม ตัดผม Advance
- ตัดผมชายสไตล์สมัยนิยม
- นวดสปาเท้าเพื่อผ่อนคลาย
- เสริมสวยพื้นฐาน
สภาพชุมชน
สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นที่ราบลุ่ม ทุ่งนาสลับป่าโปร่ง สภาพพื้นดินเป็นดินร่วนปนทราย การคมนาคมสะดวก มีถนนสายหลัก กันทรลักษ์ – กันทรารมย์ ตัดผ่าน ถนนภายในตำบลส่วนใหญ่มีการปรับปรุงอยู่ในสภาพดี
มีอากาศร้อนจัดในฤดูร้อน และหนาวจัดในฤดูหนาว เพราะได้รับอิทธิพลลมหนาวจากประเทศจีน จึงทำให้อากาศหนาวเย็น และแห้งแล้งทั่วไป ส่วนในฤดูฝนจะมีฝนตกในช่วงเดือนกันยายน เมื่อพิจารณาสภาพลมฟ้าอากาศแล้ว แบ่งได้ เป็น 3 ฤดูกาล ดังนี้
ฤดูร้อน ตั้งแต่เดือน กุมภาพันธ์ – เดือน เมษายน
ฤดูฝน ตั้งแต่เดือน พฤษภาคม – เดือน ตุลาคม
ฤดูหนาว ตั้งแต่เดือน พฤศจิกายน – เดือน มกราคม
อุณหภูมิเฉลี่ยตลอดปี 26.15 องศาเซลเซียส เดือนที่มีอุณหภูมิต่ำสุด คือ เดือน ธันวาคม ประมาณ 12.8 องศาเซลเซียส และเดือนที่มีอุณหภูมิสูงสุด คือ เดือนเมษายน อุณหภูมิประมาณ 39.5 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ์มากที่สุด ในช่วงเดือน กันยายน เฉลี่ยสูงสุด 88.20 % ซึ่งเป็นช่วงฝนตกหนัก และความชื้นสัมพัทธ์ต่ำสุดเฉลี่ย ประมาณ 22 % ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์
สภาพเศรษฐกิจ
อาชีพที่ทำรายได้ให้กับประชากรมากที่สุด คือ เกษตรกรรม โดยพืชที่นิยมปลูก ได้แก่ ข้าว และพืชไร่ ได้แก่ มันสำปะหลัง ยางพารา พืชเศรษฐกิจ เช่น เงาะ ทุเรียน มะละกอ เป็นต้น ด้านการเลี้ยงสัตว์ เกษตรกรส่วนใหญ่นิยมเลี้ยงไว้เพื่อบริโภคภายในครอบครัว และนำบางส่วนมาจำหน่ายเพื่อเป็นรายได้เสริม ส่วนด้านอุตสาหกรรม มีโรงงานอุตสาหกรรมแปรรูปสินค้าการเกษตร ได้แก่ โรงสีข้าวขนาดใหญ่ โรงงานแป้งมันสำประหลัง ท่าทราย
สภาพสังคม
เป็นสังคมชนบทแบบเกษตรกรรม ประกอบด้วยประชากรหลายกลุ่ม ได้แก่ ชาวลาว ชาวเขมร และส่วย โดยภาษาที่ใช้ ได้แก่ ภาษาอีสาน เขมร และส่วย ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ประชากรส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพเกษตรกรรม รองลงมาประกอบอาชีพรับจ้าง และค้าขาย
2.2
แผนภูมิการบริหารของสถานศึกษา
2.3 ข้อมูลของสถานศึกษา
ข้อมูลผู้เรียน
ระดับชั้น |
ปกติ |
ทวิภาคี |
ทวิศึกษา |
รวม |
ปวช.1 |
481 |
350 |
0 |
831 |
ปวช.2 |
413 |
196 |
0 |
609 |
ปวช.3 |
577 |
168 |
39 |
784 |
รวม ปวช. |
1471 |
714 |
39 |
2224 |
ระดับชั้น |
ปกติ |
ทวิภาคี |
รวม |
ปวส.1 |
47 |
396 |
443 |
ปวส.2 |
40 |
388 |
428 |
รวม ปวส. |
87 |
784 |
871 |
ข้อมูลผู้สำเร็จการศึกษา ปีการศึกษา 2561
ระดับชั้น |
แรกเข้า |
สำเร็จการศึกษา |
คิดเป็นร้อยละ |
ปวช.3 |
773 |
433 |
56.02 |
ปวส.2 |
358 |
259 |
72.35 |
รวม |
1131 |
692 |
61.18 |
ข้อมูลผู้สำเร็จการศึกษา ปีการศึกษา 2562
ระดับชั้น |
แรกเข้า |
สำเร็จการศึกษา |
คิดเป็นร้อยละ |
ปวช.3 |
729 |
360 |
49.38 |
ปวส.2 |
349 |
340 |
97.42 |
รวม |
1078 |
700 |
64.94 |
ข้อมูลบุคลากร
ประเภท |
ทั้งหมด(คน) |
มีใบประกอบวิชาชีพ(คน) |
สอนตรงสาขา(คน) |
ผู้บริหาร/
ผู้รับใบอนุญาตผู้จัดการ/ ผู้อำนวยการ/ รองผู้อำนวยการ/ ผู้ช่วยผู้อำนวยการ |
5 |
5 |
- |
ข้าราชการครู/
ครูเอกชนที่ได้รับการบรรจุ/ ผู้ที่ได้รับการรับรอง |
13 |
13 |
13 |
ข้าราชการพลเรือน |
0 |
- |
- |
พนักงานราชการครู |
21 |
21 |
16 |
พนักงานราชการ(อื่น) |
0 |
- |
- |
ครูพิเศษสอน |
36 |
23 |
36 |
เจ้าหน้าที่ |
24 |
- |
- |
บุคลากรอื่นๆ (นักการภารโรง/
ยามรักษาการ/ พนักงานขับรถ/ ฯ) |
15 |
- |
- |
รวม ครู |
70 |
57 |
65 |
รวมทั้งสิ้น |
114 |
57 |
65 |
ข้อมูลหลักสูตรการเรียนการสอน
ประเภทวิชา |
ระดับ ปวช.(สาขาวิชา) |
ระดับ ปวส.(สาขาวิชา) |
รวม(สาขาวิชา) |
อุตสาหกรรม |
6 |
5 |
11 |
พาณิชยกรรม |
3 |
3 |
6 |
ศิลปกรรม |
0 |
0 |
0 |
คหกรรม |
0 |
0 |
0 |
เกษตรกรรม |
0 |
0 |
0 |
ประมง |
0 |
0 |
0 |
อุตสาหกรรมท่องเที่ยว |
1 |
1 |
2 |
อุตสาหกรรมสิ่งทอ |
0 |
0 |
0 |
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร |
0 |
0 |
0 |
รวมทั้งสิ้น |
10 |
9 |
19 |
ข้อมูลอาคารสถานที่
ประเภทอาคาร |
จำนวน(หลัง) |
อาคารเรียน |
2 |
อาคารปฏิบัติการ |
9 |
อาคารวิทยบริการ |
1 |
อาคารอเนกประสงค์ |
2 |
อาคารอื่น ๆ |
5 |
รวมทั้งสิ้น |
19 |
ข้อมูลงบประมาณ
ประเภทงบประมาณ |
จำนวน(บาท) |
งบบุคลากร |
5545320.00 |
งบดำเนินงาน |
6348999.13 |
งบลงทุน |
1494500.00 |
งบเงินอุดหนุน |
21973216.39 |
งบรายจ่ายอื่น |
2145856.27 |
รวมทั้งสิ้น |
37507891.79 |
2.4
ปรัชญา อัตลักษณ์ เอกลักษณ์ ของสถานศึกษา
ปรัชญา
ฝีมือดี มีวินัย ใฝ่คุณธรรม นำสังคม
อัตลักษณ์
ฝีมือดี มีคุณธรรม
เอกลักษณ์
ผู้นำบริการวิชาชีพสู่ชุมชน
2.5
วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์
การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา
วิสัยทัศน์
มุ่งมั่นผลิตและพัฒนากำลังคนด้านวิชาชีพ ให้มีมาตรฐานการอาชีวศึกษา มีคุณธรรม คุณภาพ สอดคล้องกับตามความต้องการของตลาดแรงงาน ด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมก้าวสู่มาตรฐานสากล
พันธกิจ
1. ผลิตและพัฒนากำลังคนด้านวิชาชีพ ให้ได้มาตรฐานอาชีวศึกษาสอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน และประกอบอาชีพอิสระให้มีคุณภาพได้มาตรฐานสากล
2. จัดการศึกษาวิชาชีพตามความต้องการของชุมชน
3. พัฒนานวัตกรรม เทคโนโลยี สิ่งประดิษฐ์และสร้างองค์ความรู้เพื่อการจัดการอาชีวศึกษา และพัฒนาวิชาชีพ
4. บริหารจัดการอาชีวศึกษาภายใต้หลักธรรมาภิบาลโดยอาศัยเครือข่ายความร่วมมือจากทุกภาคส่วน
เป้าประสงค์
1. ผู้เรียนมีคุณภาพและได้มาตรฐานอาชีวศึกษา
2. ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ และเจตคติตรงตามความต้องการของตลาดแรงงาน
3. บุคลากร นักเรียน นักศึกษา มีความรู้ความสามารถในการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยี
4. นักเรียน นักศึกษามีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสถาบันและองค์กรระหว่างประเทศยุทธศาสตร์
ยุทธศาสตร์
1. ยกระดับคุณภาพผู้เรียนเข้าสู่มาตรฐานสากล
2. เพิ่มปริมาณผู้เรียนสายอาชีพให้เพียงพอต่อความต้องการของประเทศ
3. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนในการจัดอาชีวศึกษา
4. เพิ่มประสิทธิภาพบริหารจัดการให้มีมาตรฐานและคุณภาพโดยใช้หลักธรรมาภิบาลกลยุทธ์
กลยุทธ์
1. ผลิตและพัฒนากำลังคนอาชีวศึกษาให้มีสมรรถนะในสาขาที่ตรงตามความต้องการของตลาดแรงงาน
2. ผลิตและพัฒนากำลังคนอาชีวศึกษาให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะหลัก สมรรถนะทั่วไป และสมรรถนะวิชาชีพอย่างเต็มศักยภาพ
3. ส่งเสริม พัฒนาจัดการอาชีวศึกษา และฝึกอบรมวิชาชีพที่ตรงกับความต้องการของชุมชน
4. ส่งเสริมนวัตกรรม เทคโนโลยี สิ่งประดิษฐ์ และองค์ความรู้ด้านอาชีวศึกษา
5. จัดระบบบริหารจัดการอาชีวศึกษา ที่มีประสิทธิภาพภายใต้หลักธรรมมาภิบาล
6. สร้างเครือข่ายในการบริหารจัดการอาชีวศึกษา
7. สร้างเครือข่ายในการบริหารจัดการอาชีวศึกษา
2.6 เกียรติประวัติของสถานศึกษา
รางวัลและผลงานของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2561
รายการ |
รางวัล |
ระดับ |
ให้โดย |
ผลงานสิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรม
ในระดับที่มีคุณภาพ ในกิจกรรมบ่มเพาะนักประดิษฐ์สายอาชีพ |
รองชนะเลิศ |
ภาค |
สอศ.ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ |
ได้รับคัดเลือกให้เป็นสถานศึกษาคุณธรรมอาชีวศึกษาต้นแบบในการประชุมสัมมนา
แลกเปลี่ยนเรียนรู้และจัดแสดงผลงานขับเคลื่อนสถานศึกษาคุณธรรมอาชีวศึกษา |
รางวัลอื่น ๆ |
ชาติ |
กระทรวงศึกษาธิการ โดย สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา |
โล่รางวัลวิทยาลัยวิถีพุทธชั้นนำยอดเยี่ยม
|
ชนะเลิศ |
ภาค |
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ร่วมกับ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา |
รางวัลและผลงานของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2562
รายการ |
รางวัล |
ระดับ |
ให้โดย |
ทักษะงานกลึงชิ้นงาน ระดับ ปวช. |
ชนะเลิศ |
ภาค |
ภาคตะวันออกดฉียงเหนือ |
ทักษะงานเครื่องยนต์เล็กดีเซล
งานประชุมวิชาการองค์การนักวิชาชีพในอนาคตแห่งประเทศไทย การแข่งขันทักษะวิชาชีพ
และทักษะพื้นฐาน ระดับภาค ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ครั้งที่ 29
ประจำปีการศึกษา 2562 |
รองชนะเลิศ |
ภาค |
อาชีวศึกษาจังหวัดอุบลราชธานี |
การแข่งขันทักษะวิชาชีพและทักษะพื้นฐาน
ระดับชาติ ครั้งที่ 29 ประจำปีการศึกษา
2562 |
รองชนะเลิศ |
ชาติ |
จังหวัดร้อยเอ็ด |
รางวัลและผลงานของครูและบุคลากรทางการศึกษา ปีการศึกษา 2561
ชื่อ-สกุล/รายการ |
รางวัล |
ระดับ |
ให้โดย |
นางสาวไพรินทร์ ทองกันยา
|
รองชนะเลิศ |
จังหวัด |
อศจ.ศรีสะเกษ |
นางสาวพิมภัทรา เลิศเรืองศิริ
|
รองชนะเลิศ |
จังหวัด |
อศจ.ศรีสะเกษ |
นางสาวลินดา แก้วพิกูล
|
รองชนะเลิศ |
จังหวัด |
อศจ.ศรีสะเกษ |
นายศักรินทร์ วงศ์ภูธร
|
ชนะเลิศ |
จังหวัด |
อศจ.ศรีสะเกษ |
นางศริญญา ผาแก้ว
|
ชนะเลิศ |
จังหวัด |
อศจ.ศรีสะเกษ |
นายณัฐ กุลรัตน์
|
ชนะเลิศ |
จังหวัด |
อศจ.ศรีสะเกษ |
นางกิ่งดาว บุญประสิทธิ์
|
ชนะเลิศ |
จังหวัด |
อศจ.ศรีสะเกษ |
นางวีนัส สุวรรณ
|
รองชนะเลิศ |
จังหวัด |
อศจ.ศรีสะเกษ |
นางธนิตา สมนิยาม
|
รองชนะเลิศ |
จังหวัด |
อศจ.ศรีสะเกษ |
นางสาวทราทิตย์ ชิดชม
|
รองชนะเลิศ |
จังหวัด |
อศจ.ศรีสะเกษ |
นายสุขสันต์ สิทธิมวล
|
รองชนะเลิศ |
จังหวัด |
อศจ.ศรีสะเกษ |
นายธเนศน์ สายเจริญ
|
รองชนะเลิศ |
จังหวัด |
อศจ.ศรีสะเกษ |
นายบุญแต่ง ป้อมหิน
|
รองชนะเลิศ |
จังหวัด |
อาชีวศึกษาจังหวัดศรีสะเกษ |
นายชินาธิป พรมชา
|
รองชนะเลิศ |
จังหวัด |
อาชีวศึกษาจังหวัดศรีสะเกษ |
นายบุญแต่ง ป้อมหิน
|
รองชนะเลิศ |
จังหวัด |
อาชีวศึกษาจังหวัดศรีสะเกษ |
นายชินาธิป พรมชา
|
รองชนะเลิศ |
จังหวัด |
อาชีวศึกษาจังหวัดศรีสะเกษ |
นางวีนัส สุวรรณ
|
รองชนะเลิศ |
จังหวัด |
อาชีวศึกษาจังหวัดศรีสะเกษ |
นางสาวจิรายุ บรรพตพิทักษ์
|
รองชนะเลิศ |
จังหวัด |
อาชีวศึกษาจังหวัดศรีสะเกษ |
นายณรงค์ นิตนอก
|
รองชนะเลิศ |
จังหวัด |
อาชีวศึกษาจังหวัดศรีสะเกษ |
นายศักดาวุธ โกมลศรี
|
รองชนะเลิศ |
จังหวัด |
อาชีวศึกษาจังหวัดศรีสะเกษ |
นางสาวทราทิตย์ ชิดชม
|
รางวัลอื่น ๆ |
ภาค |
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ |
นายสันติ ไชยประดิษฐ์
|
รางวัลอื่น ๆ |
ชาติ |
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา |
นายบุญแต่ง ป้อมหิน
|
รองชนะเลิศ |
ภาค |
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา |
นางสาวทราทิตย์ ชิดชม
|
รางวัลอื่น ๆ |
ภาค |
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา |
นายบุญแต่ง ป้อมหิน
|
รางวัลอื่น ๆ |
ภาค |
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา |
นายบุญแต่ง ป้อมหิน
|
รางวัลอื่น ๆ |
ภาค |
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา |
นายบุญแต่ง ป้อมหิน
|
รางวัลอื่น ๆ |
จังหวัด |
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา |
นายบุญแต่ง ป้อมหิน
|
รางวัลอื่น ๆ |
ภาค |
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา |
นายบุญแต่ง ป้อมหิน
|
ชนะเลิศ |
ภาค |
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา |
นายบุญแต่ง ป้อมหิน
|
ชนะเลิศ |
ภาค |
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา |
รางวัลและผลงานของครูและบุคลากรทางการศึกษา ปีการศึกษา 2562
ชื่อ-สกุล/รายการ |
รางวัล |
ระดับ |
ให้โดย |
นายมานะ คงกระโทก
|
ชนะเลิศ |
ภาค |
อาชีวศึกษาจังหวัดอุบลราชธานี |
นายชาตรี ศรีสะอาด
|
รางวัลอื่น ๆ |
ภาค |
อาชีวศึกษาจังหวัดอุบลราชธานี |
นายประภาส นามโคตร
|
รางวัลอื่น ๆ |
ภาค |
อาชีวศึกษาจังหวัดอุบลราชธานี |
นายมานะ คงกระโทก
|
รางวัลอื่น ๆ |
ชาติ |
วิทยาลัยเทคนิคร้อยเอ็ด |
นายไพฑูรย์ พ่อค้า
|
รางวัลอื่น ๆ |
ภาค |
วิทยาลัยเทคนิคชุมแพ |
นายไพฑูรย์ พ่อค้า
|
รางวัลอื่น ๆ |
จังหวัด |
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ |
นายไพฑูรย์ พ่อค้า
|
ชนะเลิศ |
จังหวัด |
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ |
นางวีนัส สุวรรณ
|
รางวัลอื่น ๆ |
ภาค |
วิทยาลัยเทคนิคชุมแพ |
นางวีนัส สุวรรณ
|
ชนะเลิศ |
จังหวัด |
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ |
นางวีนัส สุวรรณ
|
ชนะเลิศ |
จังหวัด |
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ |
นางวีนัส สุวรรณ
|
รองชนะเลิศ |
จังหวัด |
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ |
นางสาวคำโฮม คูณสว่าง
|
รางวัลอื่น ๆ |
ภาค |
วิทยาลัยเทคนิคชุมแพ |
นางสาวคำโฮม คูณสว่าง
|
รองชนะเลิศ |
จังหวัด |
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ |
นางสาวคำโฮม คูณสว่าง
|
รองชนะเลิศ |
จังหวัด |
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ |
นางสาวคำโฮม คูณสว่าง
|
รางวัลอื่น ๆ |
จังหวัด |
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ |
นายศักรินทร์ วงศ์ภูธร
|
รางวัลอื่น ๆ |
จังหวัด |
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ |
นายศักรินทร์ วงศ์ภูธร
|
รางวัลอื่น ๆ |
จังหวัด |
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ |
นางสาววันเฉลิม จันทะไพร
|
รองชนะเลิศ |
จังหวัด |
วิิยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ |
นางสาววันเฉลิม จันทะไพร
|
รองชนะเลิศ |
ภาค |
วิทลัยเทคนิคกันทรลัดษฺ |
นางสาววันเฉลิม จันทะไพร
|
รองชนะเลิศ |
จังหวัด |
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ |
นางสาวปวีณา บุญเสนอ
|
รางวัลอื่น ๆ |
จังหวัด |
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ |
นางกิ่งดาว บุญประสิทธิ์
|
รางวัลอื่น ๆ |
จังหวัด |
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ |
นายประดิษฐ ใจทรง
|
รางวัลอื่น ๆ |
จังหวัด |
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ |
นายวิทยา ลัทธิมนต์
|
รางวัลอื่น ๆ |
จังหวัด |
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ |
นายชินาธิป พรมชา
|
รางวัลอื่น ๆ |
จังหวัด |
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ |
นางศริญญา ผาแก้ว
|
รางวัลอื่น ๆ |
จังหวัด |
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ |
นายอุทัย จรรยากรณ์
|
รางวัลอื่น ๆ |
จังหวัด |
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ |
จ่าสิบเอกชาติชาย ฝอยทอง
|
รางวัลอื่น ๆ |
จังหวัด |
วิทยาลัยเทคนิคกันรลักษ |
นางสาวจรินทร ทองพิระ
|
รางวัลอื่น ๆ |
จังหวัด |
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ |
นางนงลักษณ์ ศรีชา
|
รางวัลอื่น ๆ |
จังหวัด |
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ |
นางสาวสาวิตรี บุญงอก
|
รางวัลอื่น ๆ |
จังหวัด |
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ |
นางสาวทราทิตย์ ชิดชม
|
รางวัลอื่น ๆ |
จังหวัด |
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ |
นายวิทยา ลัทธิมนต์
|
รางวัลอื่น ๆ |
จังหวัด |
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ |
นางสาวปวีณา บุญเสนอ
|
รางวัลอื่น ๆ |
จังหวัด |
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ |
นางกิ่งดาว บุญประสิทธิ์
|
รางวัลอื่น ๆ |
จังหวัด |
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ |
นายชินาธิป พรมชา
|
รางวัลอื่น ๆ |
จังหวัด |
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ |
นายณัฐ กุลรัตน์
|
รางวัลอื่น ๆ |
จังหวัด |
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ |
นายชินาธิป พรมชา
|
รางวัลอื่น ๆ |
จังหวัด |
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ |
นายวิทยา ลัทธิมนต์
|
รางวัลอื่น ๆ |
จังหวัด |
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ |
นางกิ่งดาว บุญประสิทธิ์
|
รางวัลอื่น ๆ |
จังหวัด |
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ |
นางปวีณา บุญเสนอ
|
รางวัลอื่น ๆ |
จังหวัด |
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ |
นางสาวศริญญา ผาแก้ว
|
รางวัลอื่น ๆ |
จังหวัด |
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ |
นายอุทัย จรรยากรณ์
|
รางวัลอื่น ๆ |
จังหวัด |
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ |
จ่าสิบเอกชาติชาย ฝอยทอง
|
รางวัลอื่น ๆ |
จังหวัด |
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ |
นายวัฒนา ทองเทพ
|
รางวัลอื่น ๆ |
จังหวัด |
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ |
นางสาวไพรินทร์ ทองกันยา
|
รางวัลอื่น ๆ |
ภาค |
วิทยาลัยเทคนิคชุมแพ |
นางสาวพิมพ์ภัทรา เลิศเรืองศิริ
|
รางวัลอื่น ๆ |
ภาค |
วิทยาลัยเทคนิคชุมแพ |
นางสาวเพ็ญธิดา แก้วคำ
|
รางวัลอื่น ๆ |
ภาค |
วิทยาลัยเทคนิคชุมแพ |
นางสาวไพรินทร์ ทองกันยา
|
รางวัลอื่น ๆ |
จังหวัด |
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ |
นางสาวพิมพ์ภัทรา เลิศเรืองศิริ
|
รางวัลอื่น ๆ |
จังหวัด |
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ |
นางสาวเพ็ญธิดา แก้วคำ
|
รางวัลอื่น ๆ |
จังหวัด |
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ |
นายศักรินทร์ วงศ์ภูธร
|
รองชนะเลิศ |
ชาติ |
จังหวัดร้อยเอ็ด |
นายศักรินทร์ วงศ์ภูธร
|
รองชนะเลิศ |
ภาค |
อาชีวศึกษาจังหวัดร้อยเอ็ด |
รางวัลและผลงานของผู้เรียน ปีการศึกษา 2561
ชื่อ-สกุล/รายการ |
รางวัล |
ระดับ |
ให้โดย |
รางวัลและผลงานของผู้เรียน ปีการศึกษา 2562
ชื่อ-สกุล/รายการ |
รางวัล |
ระดับ |
ให้โดย |
นายสิทธิศักดิ์ จันทิวา
|
ชนะเลิศ |
ภาค |
ระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ |
นายสิทธิศักดิ์ จันทิวา
|
รางวัลอื่น ๆ |
ชาติ |
วิทยาลัยเทคนิคร้อยเอ็ด |
นางสาวบุษยมาส ธานี
|
รางวัลอื่น ๆ |
จังหวัด |
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ |
นางสาวพักตร์วิภา บุญเกลี้ยง
|
รางวัลอื่น ๆ |
จังหวัด |
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ |
นางสาวเบญจวรรณ วงค์คำจันทร์
|
รางวัลอื่น ๆ |
จังหวัด |
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ |
นางสาวปิชชุดา นาห่อม
|
รางวัลอื่น ๆ |
จังหวัด |
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ |
นางสาวบุษบา ปานาตี
|
รางวัลอื่น ๆ |
จังหวัด |
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ |
นางสาวกฤษณา บังคม
|
รางวัลอื่น ๆ |
จังหวัด |
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ |
นางสาวจิรวรรณ จำปาทอง
|
รางวัลอื่น ๆ |
จังหวัด |
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ |
นายโกวิท จันทร์แจ่ม
|
รางวัลอื่น ๆ |
จังหวัด |
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ |
นางสาวสมฤดี ก้านศรี
|
รางวัลอื่น ๆ |
จังหวัด |
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ |
นายจารุวัฒน์ สายพงษ์
|
รางวัลอื่น ๆ |
จังหวัด |
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ |
นางสาวสุนิสา สีดา
|
รางวัลอื่น ๆ |
จังหวัด |
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ |
นางสาวปนัดดา เอื้องไชยสงค์
|
รางวัลอื่น ๆ |
จังหวัด |
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ |
นางสาวธัญญาเรศ ปรึกศรีดา
|
รางวัลอื่น ๆ |
จังหวัด |
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ |
นางสาวฐิติยา คำเกษ
|
รางวัลอื่น ๆ |
จังหวัด |
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ |
นางสาววรนุช แสงสัน
|
รางวัลอื่น ๆ |
จังหวัด |
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ |
นางสาวศิรประภา พิมาทัย
|
รางวัลอื่น ๆ |
จังหวัด |
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ |
นางสาวเกษกมล ศรีพรม
|
รางวัลอื่น ๆ |
จังหวัด |
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ |
นางสาวชลดา ชาภักดี
|
รางวัลอื่น ๆ |
จังหวัด |
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ |
นายปริญญากรณ์ มะลิต้น
|
รางวัลอื่น ๆ |
จังหวัด |
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ |
นางสาวอัญมณี ยิ่งชาติ
|
รางวัลอื่น ๆ |
จังหวัด |
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ |
นายนันธิเดช สุขเสริม
|
รางวัลอื่น ๆ |
จังหวัด |
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ |
นายฤทธิชัย ไชยพันธ์
|
รางวัลอื่น ๆ |
จังหวัด |
วิทยาลัยเทคนิคกันทรษ์ |
นายโกวิท จันทร์แจ่ม
|
รางวัลอื่น ๆ |
จังหวัด |
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ |
นายจารุวัฒน์ สายพงษ์
|
รางวัลอื่น ๆ |
จังหวัด |
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ |
นางสาวสมฤดี ก้านศรี
|
รางวัลอื่น ๆ |
จังหวัด |
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ |
นางสาวสุนิสา สีดา
|
รางวัลอื่น ๆ |
จังหวัด |
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ |
นางสาวปนัดดา เอื้องไชยสงค์
|
รางวัลอื่น ๆ |
จังหวัด |
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ |
นายสุรชาติ สุดใจ
|
รางวัลอื่น ๆ |
ภาค |
วิทยาลัยเทคนิคชุมแพ |
นางสาวสุธาสินี แก่นสีดา
|
รางวัลอื่น ๆ |
ภาค |
วิทยาลัยเทคนิคชุมแพ |
นายชินกร แสงใส
|
รางวัลอื่น ๆ |
ภาค |
วิทยาลัยเทคนิคชุมแพ |
นางสาวศดานันท์ ไชยโคตร
|
รางวัลอื่น ๆ |
ภาค |
วิทยาลัยเทคนิคชุมแพ |
นายอนิรุธ เถาว์คำ
|
รางวัลอื่น ๆ |
ภาค |
วิทยาลัยเทคนิคชุมแพ |
นางสาวสุพรรณิการ์ สุวรรณ
|
รางวัลอื่น ๆ |
ภาค |
วิทยาลัยเทคนิคชุมแพ |
นางสาวชาลินี แก้วกิ่ง
|
รางวัลอื่น ๆ |
ภาค |
วิทยาลัยเทคนิคชุมแพ |
นางสาวสุกัญญา สาธรณ์
|
รางวัลอื่น ๆ |
ภาค |
วิทยาลัยเทคนิคชุมแพ |
นางสาวสุดารัตน์ ขันติ
|
รางวัลอื่น ๆ |
ภาค |
วิทยาลัยเทคนิคชุมแพ |
นายนพรัตน์ เงินดี
|
รางวัลอื่น ๆ |
ภาค |
วิทยาลัยเทคนิคชุมแพ |
นางสาวสุพรรณิการ์ สุวรรณ
|
รางวัลอื่น ๆ |
จังหวัด |
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ |
นางสาวสุธินี แก่นสีดา
|
รางวัลอื่น ๆ |
จังหวัด |
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ |
นายชินกร แสงใส
|
รางวัลอื่น ๆ |
จังหวัด |
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ |
นางสาวนิสา เนียมพันธ์
|
รางวัลอื่น ๆ |
จังหวัด |
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ |
นางสาวเฟื่องฟ้า อรัญชราธร
|
รางวัลอื่น ๆ |
จังหวัด |
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ |
นางสาวศดานันท์ ไชยโคตร
|
รางวัลอื่น ๆ |
จังหวัด |
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ |
นายอนิรุธ เถาว์คำ
|
รางวัลอื่น ๆ |
จังหวัด |
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ |
นายสุรชาติ สุดใจ
|
รางวัลอื่น ๆ |
จังหวัด |
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ |
นายนพรัตน์ เงินดี
|
รางวัลอื่น ๆ |
จังหวัด |
วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ |
นายณัฐศิษฏ์ คุมมินทร์
|
รองชนะเลิศ |
ชาติ |
จังหวัดร้อยเอ็ด |
นายสมรัก กุษาเดช
|
รองชนะเลิศ |
ภาค |
อาชีวศึกษาจังหวัดอุบลราชธานี |
นายณัฐวุฒิ บัวแก้ว
|
รองชนะเลิศ |
ภาค |
อาชีวศึกษาจังหวัดอุบลราชธานี |
นายณัฐศิษฏ์ คุมมินตร์
|
รองชนะเลิศ |
ภาค |
อาชีวศึกษาจังหวัดอุบลราชธานี |
ส่วนที่
3
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ให้สถานศึกษาระบุมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาซึ่งเป็นไปตามมาตรฐานการอาชีวศึกษาที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการประกาศกำหนด
และสถานศึกษาสามารถกำหนดมาตรฐานการศึกษาหรือประเด็นการประเมินเพิ่มเติมตามบริบทของสถานศึกษา
มาตรฐานการศึกษาของวิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ ประกอบด้วย 3 มาตรฐาน 9 ประเด็นการประเมิน ดังนี้
มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของผู้สำเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาที่พึงประสงค์
การจัดการอาชีวศึกษา
เป็นการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาผู้สำเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาให้มีความรู้
มีทักษะและการประยุกต์ใช้เป็นไปตามมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแต่ละระดับการศึกษา
และมีคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ประกอบด้วยประเด็นการประเมิน
ดังนี้
1.1 ด้านความรู้
ผู้สำเร็จการศึกษาอาชีวศึกษามีความรู้เกี่ยวกับข้อเท็จจริง ตามหลักการ
ทฤษฏี และแนวปฏิบัติต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่เรียน หรือทำงาน
โดยเน้นความรู้เชิงทฤษฏี และหรือข้อเท็จจริง เป็นไปตามมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแต่ละระดับการศึกษา
1.2 ด้านทักษะและการประยุกต์ใช้
ผู้สำเร็จการศึกษาอาชีวศึกษามีทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 ทักษะวิชาชีพ
และทักษะชีวิตเป็นไปตามมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแต่ละระดับการศึกษา
สามารถประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน และการดำรงชีวิตอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
และมีสุขภาวะที่ดี
1.3 ด้านคุณธรรม
จริยธรรม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์
ผู้สำเร็จการศึกษาอาชีวศึกษามีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ
เจตคติและกิจนิสัยที่ดี ภูมิใจและรักษาเอกลักษณ์ของชาติไทย เคารพกฎหมาย เคารพสิทธิของผู้อื่น
มีความรับผิดชอบตามบทบาทหน้าที่ของตนเองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
มีจิตสาธารณะ และมีจิตสำนึกรักษ์สิ่งแวดล้อม
มาตรฐานที่ 2 การจัดการอาชีวศึกษา
สถานศึกษามีครูที่มีคุณวุฒิการศึกษาและจำนวนตามเกณฑ์ที่กำหนด ใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะในการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
และบริหารจัดการทรัพยากรของสถานศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ
มีความสำเร็จในการดำเนินการตามนโยบายสำคัญของหน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กำกับดูแลสถานศึกษา
ประกอบด้วยประเด็นการประเมิน ดังนี้
2.1 ด้านหลักสูตรอาชีวศึกษา
สถานศึกษาใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน
ชุมชน สถานประกอบการ ตลาดแรงงาน มีการปรับปรุงรายวิชาเดิม หรือกำหนดรายวิชาใหม่
หรือกลุ่มวิชาเพิ่มเติมให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและความต้องการของตลาดแรงงาน
โดยความร่วมมือกับสถานประกอบการหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
2.2 ด้านการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา
สถานศึกษามีครูที่มีคุณวุฒิการศึกษาและมีจำนวนตามเกณฑ์ที่กำหนด
ได้รับการพัฒนาอย่างเป็นระบบต่อเนื่อง เพื่อเป็นผู้พร้อมทั้งด้านคุณธรรม
จริยธรรมและความเข้มแข็งทางวิชาการและวิชาชีพ
จัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ตอบสนองความต้องการของผู้เรียนทั้งวัยเรียนและวัยทำงาน
ตามหลักสูตร มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแต่ละระดับการศึกษา
ตามระเบียบหรือข้อบังคับเกี่ยวกับการจัดการศึกษาและการประเมินผลการเรียนของแต่ละหลักสูตร
ส่งเสริม สนับสนุน กำกับ ดูแลให้ครูจัดการเรียนการสอนรายวิชาให้ถูกต้อง ครบถ้วน
สมบูรณ์
2.3 ด้านการบริหารจัดการ
สถานศึกษาบริหารจัดการบุคลากร สภาพแวดล้อม ภูมิทัศน์ อาคารสถานที่
ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ โรงฝึกงาน ศูนย์วิทยบริการ สื่อ แหล่งเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศ ครุภัณฑ์
และงบประมาณของสถานศึกษาที่มีอยู่อย่างเต็มศักยภาพและมีประสิทธิภาพ
2.4 ด้านการนำนโยบายสู่การปฏิบัติ
สถานศึกษามีความสำเร็จในการดำเนินการบริหารจัดการสถานศึกษา
ตามนโยบายสำคัญที่หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กำกับดูแลสถานศึกษามอบหมาย
โดยความร่วมมือของผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษาและผู้เรียน
รวมทั้งการช่วยเหลือ ส่งเสริม สนับสนุนจากผู้ปกครอง ชุมชน
สถานประกอบการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและภาคเอกชน
มาตรฐานที่ 3 การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
สถานศึกษาร่วมมือกับบุคคล ชุมชน องค์กรต่าง ๆ
เพื่อสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ มีการจัดทำนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์
งานวิจัย ประกอบด้วยประเด็นการประเมิน ดังนี้
3.1 ด้านความร่วมมือในการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
สถานศึกษามีการสร้างความร่วมมือกับบุคคล ชุมชน องค์กรต่าง ๆ
ทั้งในประเทศและต่างประเทศในการจัดการศึกษา การจัดทรัพยากรทางการศึกษา
กระบวนการเรียนรู้ การบริการทางวิชาการและวิชาชีพ โดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม
เพื่อพัฒนาผู้เรียนและคนในชุมชนสู่สังคมแห่งการเรียนรู้
3.2 ด้านนวัตกรรม
สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจัย
สถานศึกษาส่งเสริมสนับสนุนให้มีการจัดทำนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์
งานสร้างสรรค์ งานวิจัย โดยผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา ผู้เรียน หรือร่วมกับบุคคล
ชุมชน องค์กรต่าง ๆ ที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ตามวัตถุประสงค์
และเผยแพร่สู่สาธารณชน
ส่วนที่
4
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
สถานศึกษารายงานการประเมินผลและการติดตามตรวจสอบคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ในแต่ละมาตรฐานและประเด็นการประเมิน ดังนี้
4.1 มาตรฐานที่ 1
คุณลักษณะของผู้สำเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาที่พึงประสงค์
4.1.1 ด้านความรู้ ให้สถานศึกษารายงานผลสัมฤทธิ์ในการพัฒนาคุณลักษณะของผู้สำเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาที่พึงประสงค์ด้านความรู้
ตามรายการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาอาชีวศึกษา ดังนี้
1) ผลสัมฤทธิ์
1. ด้านความรู้
1. การดูแลและแนะแนวผู้เรียน
เชิงปริมาณ : วิทยาลัยฯ มีการพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียนให้สามารถสำเร็จการศึกษาตามระยะเวลาที่หลักสูตรกำหนดและลดปัญหาการออกกลางคัน จำแนกระดับ ประเภทวิชา สาขาวิชา สาขางาน ซึ้งร้อยละของผูู้สําเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ทั้งหมดเทียบกับจํานวนผูู้เรียนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) แรกเข้าของรุ่นที่สําเร็จการศึกษา โดยพิจารณาในภาพรวมของสถานศึกษา ผู้เรียนมีผลผลสัมฤทธิ์ ปีการศึกษา 2562 พบว่ามีผู้สำเร็จการศึกษาระดับ ปวช.3 คิดเป็นร้อยละ 49.38 ระดับ ปวส. 2 คิดเป็นร้อยละ 97.42
เชิงคุณภาพ : ผลการประเมินอยู่ในระดับยอดเยี่ยม
ผลสะท้อน : ผู้สำเร็จการศึกษาเป็นคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม ตามอัตลักษณ์ของสถานศึกษาคุณธรรม มีความรู้ ความสามารถตามมาตรฐานการศึกษาวิชาชีพของหลักสูตรในแต่ละระดับและแต่ละสาขาวิชา สาขางาน เป็นที่พึงพอใจของตลาดแรงงาน และมีสัดส่วนผู้สำเร็จการศึกษาเทียบกับผู้เรียนแรกเข้าตามเกณฑ์ที่กำหนด
2. ผู้เรียนมีสมรรถนะในการเป็นผู้ประกอบการหรือการประกอบอาชีพอิสระ
เชิงปริมาณ : ผู้เรียนที่เข้าร่วมโครงการอบรมการเขียนแผนธุรกิจส่งเสริมการประกอบอาชีพอิสระในกลุ่มผู้เรียนอาชีวศึกษา ประจำปีการศึกาษา 2562 จำนวน 90 ราย ผู้เรียนที่เข้าร่วมการบ่มเพาะการเป็นผู้ประกอบการ จำนวน 5 ธุรกิจ 15 ราย และมีผู้เรียนที่ผ่านการบ่มเพาะที่สำเร็จการศึกษาแล้วเป็นเจ้าของธุรกิจจำนวน 3 ราย
เชิงคุณภาพ : ผลการประเมินศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการการอาชีวศึกษาระดับภาค และระดับชาติ มีผลการประเมินระดับ 4 ดาว
ผลสะท้อน : สถานศึกษามีศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการอาชีวศึกษา ที่องค์กรและหน่วยงานภายนอก ผู้ปกครอง ชุมชน ให้การยอมรับ ในด้านการพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะเป็นผู้ประกอบการรายใหม่ แล้วสามารถเป็นผู้ประกอบการและสามารถประกอบอาชีพอิสระได้ คุณภาพของผู้สำเร็จการศึกษาเป็นรายบุคคล
3. ผลงานของผู้เรียนด้านนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัย
เชิงปริมาณ : วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ได้ส่งผลงานสิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่เข้าร่วมประกวด จำนวน 13 ชิ้นงานและได้เป็นตัวแทนเข้าร่วมประกวด“สุดยอดนวัตกรรมอาชีวศึกษา”สิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่ระดับภาค ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีการศึกษา 2562 ในระหว่างวันที่ 1-4 ธันวาคม 2562 ณ วิทยาลัยเทคนิคชุมแพ อำเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น จำนวน 4 ชิ้นงาน
เชิงคุณภาพ : ผลการประเมินอยู่ในระดับดีเลิศ
ผลสะท้อน : สถานศึกษามีการส่งเสริมการจัดทำสิ่งประดิษฐฺ์ของคนรุ่นใหม่เข้าร่วมประกวดผลงานสิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่ ทั้งระดับอาชีวศึกษาและระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือและมีองค์กรและหน่วยงานภายนอก ผู้ปกครอง ชุมชน ให้การยอมรับ และเป็นที่เผยแพร่แก่สาธารณชน
4. ผลการแข่งขันทักษะวิชาชีพ
เชิงปริมาณ : จำนวนผู้เรียนที่ได้รับรางวัลจากการแข่งขันทักษะวิชาชีพ จำนวน 130 คน คิดเป็นร้อยละ 30.76
เชิงคุณภาพ : ผลการประเมินอยู่ในระดับดีเลิศ
ผลสะท้อน : นักเรียน นักศึกษา ส่วนมากได้รับการยกย่องในผลงานด้านทักษะวิชาชีพในทุกๆ สาขางาน ดังผลงานการเข้าร่วมประกวดสุดยอดนวัตกรรมอาชีวศึกษาการประกวดสิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่ จนได้รับรางวัลในระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
5. ผลการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ
เชิงปริมาณ : จำนวนผู้เรียนที่ผ่านการประเมินมาตรฐานวิชาชีพวิชาชีพรอบแรก จำนวน 431 คน คิดเป็นร้อยละ 100
เชิงคุณภาพ : ระดับคุณภาพยอดเยี่ยม
ผลสะท้อน : สถานศึกษามีการดำเนินงานและมีข้อมูลที่แสดงถึงการปฎิบัติงานสู่ความสำเร็จ โดยมีกิจกรรม งานและโครงการที่ดำเนินการไปสู่มาตรฐานคุณภาพของนักเรียน นักศึกษา เช่น มีการจัดการเรียนการสอนร่วมกับสถานประกอบการ การจัดการแข่งขันทักษะวิชาชีพในสถานศึกษา และนอกสถานศึกษา และดำเนินการจัดทำมาตรฐานวิชาชีพ และมีการจัดสอบ ตามหลีักสูตรการจัดการเรียนการสอนตามโครงสร้างหลักสูตรทั้งในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ และระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ทั้งภาคทฤษฎีและภคปฎิบัติ
6. ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET)
เชิงปริมาณ : จำนวนผู้เรียนที่มีผลการทดสอบระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ได้คะแนนตั้งแต่ค่าคะแนนระดับชาติขึ้นไป จากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านอาชีวศึกษา (V-NET) จำนวน 583 คนร้อยละ 76.40 อยู่ในระดับดี
เชิงคุณภาพ : ผลการประเมินอยู่ในระดับดี
ผลสะท้อน : นักเรียนนักศึกษาที่ผ่านการทดสอบระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ได้คะแนนตั้งแต่ค่าคะแนนระดับชาติขึ้นไป นั้นเกิดจากสถานศึกษาได้มีการจัดการเรียนการสอนร่วมกับสถานประกอบการ มีการส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนจนเป็นที่ยอมรับของหน่วยงานภายนอก และชุมชน
7. การมีงานทำและศึกษาต่อของผู้สำเร็จการศึกษา
เชิงปริมาณ : จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาระดับ ปวช. และ ปวส. ในปีการศึกษาที่ผ่านมา (2561) มีงานทำในสถานประกอบการ หน่วยงานภาครัฐและเอกชน ประกอบอาชีพอิสระหรือศึกษาต่อ พบว่า ระดับปวช. แรกเข้า (ปีการศึกษา 2559) จำนวน 773 คน สำเร็จการศึกษา (ปีการศึกษา 2561) จำนวน 433 คน เป็นผู้มีงานทำหรือศึกษาต่อ จำนวน 417 คน คิดเป็นร้อยละ 53.94 พบว่า ระดับปวส.แรกเข้า (ปีการศึกษา 2560) จำนวน 358 คน สำเร็จการศึกษา (ปีการศึกษา 2561) จำนวน 317 คน เป็นผู้มีงานทำหรือศึกษาต่อ จำนวน 317 คน คิดเป็นร้อยละ 88.54 ในภาพรวม ทั้งในระดับ ปวช. และ ระดับ ปวส. พบว่า แรกเข้า จำนวน 1131 คน สำเร็จการศึกษา (ปีการศึกษา 2561) จำนวน 750 คน เป็นผู้มีงานทำหรือศึกษาต่อ จำนวน 734 คน คิดเป็นร้อยละ 64.89
เชิงคุณภาพ : ระดับคุณภาพปานกลาง
ผลสะท้อน : วิทยาลัยฯ ได้เล็งเห็นความสำคัญทางด้านความพึงพอใจของสถานประกอบการ หน่วยงาน หรือผู้รับบริการของผู้าำเเร็จการศึกษาในระดับ ปวช. และระดับ ปวส.เป็นอย่างมาก และนักเรียน นักษาที่สำเร็จการศึกษามีงานทำมีจำนวนมากและเป็นที่ยอมรับของหน่วยงาน ชุมชน สถานประกอบการอย่างต่อเนื่อง และเป็นที่ประจักษ์แก่สาธารณชน
4.1.2 ด้านทักษะและการประยุกต์ใช้ ให้สถานศึกษารายงานผลสัมฤทธิ์ในการพัฒนาคุณลักษณะของผู้สำเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาที่พึงประสงค์ด้านทักษะและการประยุกต์ใช้
ตามรายการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาอาชีวศึกษา ดังนี้
1) ผลสัมฤทธิ์
1. ผู้เรียนมีสมรรถนะในการเป็นผู้ประกอบการหรือการประกอบอาชีพอิสระ
เชิงปริมาณ : ผู้เรียนที่เข้าร่วมโครงการอบรมการเขียนแผนธุรกิจส่งเสริมการประกอบอาชีพอิสระในกลุ่มผู้เรียนอาชีวศึกษา ประจำปีการศึกษา 2562 จำนวน 80 ราย ผู้เรียนที่เข้าร่วมการบ่มเพาะการเป็นผู้ประกอบการ จำนวน 5 ธุรกิจ 15 ราย และมีผู้เรียนที่ผ่านการบ่มเพาะที่สำเร็จการศึกษาแล้วเป็นเจ้าของธุรกิจจำนวน 15 ราย
เชิงคุณภาพ : ผลการประเมินศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการอาชีวศึกษาระดับภาค และระดับชาติมีผลการประเมินระดับ 4 ดาว
ผลสะท้อน : สถานศึกษามีศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการอาชีวศึกษา ที่องค์กรและหน่วยงานภายนอก ผู้ปกครอง ชุมชน ให้การยอมรับ ในด้านการพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะเป็นผู้ประกอบการรายใหม่แล้วสามารถเป็นผู้ประกอบการและสามารถประกอบอาชีพอิสระได้ คุณภาพของผู้สำเร็จการศึกษาเป็นรายบุคคล
2. ผลการแข่งขันทักษะวิชาชีพ
เชิงปริมาณ : จำนวนผู้เรียนที่ได้รับรางวัลจากการแข่งขันทักษะวิชาชีพ จำนวน 120 คน คิดเป็นร้อยละ 85.71
เชิงคุณภาพ : ผลการประเมินอยู่ในระดับดีเลิศ
ผลสะท้อน : นักเรียน นักศึกษา ส่วนมากได้รับการยกย่องในผลงานด้านทักษะวิชาชีพในทุกๆ สาขางานดังผลงานการเข้าร่วมประกวดสุดยอดนวัตกรรมอาชีวศึกษาการประกวดสิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่ จนได้รับรางวัลในระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
3. วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ได้ส่งผลงานสิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่เข้าร่วมประกวด จำนวน 13 ชิ้นงานและได้เป็นตัวแทนเข้าร่วมประกวด“สุดยอดนวัตกรรมอาชีวศึกษา”สิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่ระดับภาค ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีการศึกษา 2562 ในระหว่างวันที่ 1-4 ธันวาคม 2562 ณ วิทยาลัยเทคนิคชุมแพ อำเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น จำนวน 4 ชิ้นงาน
4.1.3 ด้านคุณธรรม
จริยธรรม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์
ให้สถานศึกษารายงานผลสัมฤทธิ์ในการพัฒนาคุณลักษณะของผู้สำเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาที่พึงประสงค์ด้านคุณธรรม
จริยธรรม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์
ตามรายการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาอาชีวศึกษา ดังนี้
1) ผลสัมฤทธิ์
1. การดูแลและแนะแนวผู้เรียน
เชิงปริมาณ : วิทยาลัยฯ มีการพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียนให้สามารถสำเร็จการศึกษา ตามระยะเวลาที่หลักสูตรกำหนดและลดปัญหาการออกกลางคัน จำแนกระดับ ประเภทวิชา สาขาวิชา สาขางาน ซึ่งร้อยละของผู้สำเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ทั้งหมดเทียบกับจำนวนผู้เรียนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) แรกเข้าของรุ่นที่สำเร็จการศึกษา โดยพิจารณาในภาพรวมของสถานศึกษา ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ ปีการศึกษา 2562 พบว่ามีผู้สำเร็จการศึกษาระดับ ปวช.3 คิดเป็นร้อยละ 30.58 ระดับ ปวส.2 คิดเป็นร้อยละ 87.67
เชิงคุณภาพ : ผลการประเมินอยู่ในระดับดี
ผลสะท้อน : ผู้สำเร็จการศึกษาเป็นคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม ตามอัตลักษณ์ของสถานศึกษาคุณธรรม มีความรู้ ความสามารถตามมาตรฐานการศึกษาวิชาชีพของหลักสูตรในแต่ละระดับและแต่ละสาขาวิชา สาขางาน เป็นที่พึงพอใจของตลาดแรงงาน และมีสัดส่วนผู้สำเร็จการศึกษาเทียบกับผู้เรียนแรกเข้าตามเกณฑ์ที่กำหนด
2. ผู้เรียนมีลักษณะที่พึงประสงค์
เชิงปริมาณ : สถานศึกษารายงานผลสัมฤทธิ์ในการพัฒนาคุณลักษณะของผู้สำเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาที่พึงประสงค์ด้านคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตามรายการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาอาชีวศึกษา จำนวนผู้เรียนที่มี คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ จำนวนทั้งหมด 3095 คน ร้อยละผู้เรียนที่มี คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ หรือผลการประเมิน อวท.หรือ อกท. จำนวน 2850 คน คิดเป็นร้อยละ 92.08
เชิงคุณภาพ : ผลการประเมินอยู่ในระดับยอดเยี่ยม
ผลสะท้อน : หน่วยงานและองค์กร หน่วยงานภายนอก สถานประกอบการผู้ปกครอง ชุมชน ให้การยอมรับและยกย่องนักเรียนนักศึกษาของวิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์ เป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม ที่พึงประสงค์ตามที่ต้องการ ดังปรากฎจากการที่สถานศึกษาได้ 1) รับโล่รางวัลสถานศึกษาคุณธรรม น้อมนำศาสตร์พระราชา พัฒนาวิทยาลัยวิถีพุทธยอดเยี่ยม จากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย 2) ได้รับคัดเลือกให้เป็นสถานศึกษาคุณธรรมอาชีวศึกษาต้นแบบในการประชุมสัมนา แลกเปลี่ยนเรียนรู้และจัดแสดงผลงานการขับเคลื่อนสถานศึกษาคุณธรรมอาชีวศึกษา จากกระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
3. การมีงานทำและศึกษาต่อของผู้สำเร็จการศึกษา
เชิงปริมาณ : จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาระดับ ปวช. และ ปวส. ในปีการศึกษาที่ผ่านมา (2561) มีงานทำในสถานประกอบการ หน่วยงานภาครัฐและเอกชน ประกอบอาชีพอิสระหรือศึกษาต่อ พบว่า ระดับปวช. แรกเข้า (ปีการศึกษา 2559) จำนวน 773 คน สำเร็จการศึกษา (ปีการศึกษา 2561) จำนวน 433 คน เป็นผู้มีงานทำหรือศึกษาต่อ จำนวน 417 คน คิดเป็นร้อยละ 53.94 พบว่า ระดับปวส.แรกเข้า (ปีการศึกษา 2560) จำนวน 358 คน สำเร็จการศึกษา (ปีการศึกษา 2561) จำนวน 317 คน เป็นผู้มีงานทำหรือศึกษาต่อ จำนวน 317 คน คิดเป็นร้อยละ 88.54 ในภาพรวม ทั้งในระดับ ปวช. และ ระดับ ปวส. พบว่า แรกเข้า จำนวน 1131 คน สำเร็จการศึกษา (ปีการศึกษา 2561) จำนวน 750 คน เป็นผู้มีงานทำหรือศึกษาต่อ จำนวน 734 คน คิดเป็นร้อยละ 64.89
เชิงคุณภาพ : ระดับคุณภาพปานกลาง
ผลสะท้อน : วิทยาลัยฯ ได้เล็งเห็นความสำคัญทางด้านความพึงพอใจของสถานประกอบการ หน่วยงาน หรือผู้รับบริการของผู้าำเเร็จการศึกษาในระดับ ปวช. และระดับ ปวส.เป็นอย่างมาก และนักเรียน นักษาที่สำเร็จการศึกษามีงานทำมีจำนวนมากและเป็นที่ยอมรับของหน่วยงาน ชุมชน สถานประกอบการอย่างต่อเนื่อง และเป็นที่ประจักษ์แก่สาธารณชน
4. อื่นๆ ที่สถานศึกษากำหนด
2) จุดเด่น
1.จำนวนผู้เรียนที่มีผลการทดสอบระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ได้คะแนนตั้งแต่ ค่าคะแนนระดับชาติขึ้นไป จากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านอาชีวศึกษา (V-NET) จำนวน 583 คน ร้อยละ 76.40 อยู่ในระดับดี นักศึกษามีความตั้งใจในการเรียน สามารถสอบผ่านการทดสอบมาตรฐานวิชาชีพ (VQ) และสามารถทดสอบผ่านทางการศึกษาระดับชาติ ด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ได้ระดับผลคะแนนอยู่ในระดับยอดเยี่ยมและระดับดี
2. นักศึกษาที่สำเร็จการศึกษามีงานทำมีจำนวนมากและเป็นที่ยอมรับของหน่วยงาน ชุมชน สถานประกอบการอย่างต่อเนื่อง และเป็นที่ประจักษ์แก่สาธารณชน
3) จุดที่ควรพัฒนา
1. ควรจัดให้มีการอบรม เพื่อเพิ่มความรู้แก่ผู้เรียน
4) ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา
จัดหาสถานประกอบการเพิ่มเติมเพื่อให้นักเรียนนักศึกษาได้ฝึกประสบการณ์ให้ตรงกับสาขาวิชาชีพ
4.2 มาตรฐานที่ 2
การจัดการอาชีวศึกษา
4.2.1 ด้านหลักสูตรอาชีวศึกษา ให้สถานศึกษารายงานผลสัมฤทธิ์ในการพัฒนาการจัดการอาชีวศึกษาด้านหลักสูตรอาชีวศึกษา
ตามรายการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาอาชีวศึกษา ดังนี้
1) ผลสัมฤทธิ์
1. การพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะอย่างเป็นระบบ
เชิงปริมาณ : วิทยาลัยฯ โดยการนำของคณะผู้บริหาร และหัวหน้าแผนกวิชา ร่วมโครงการนิเทศนักเรียนนักศึกษาในสถานประกอบการ ภาคเรียนละ 1 ครั้ง เพื่อดูแลช่วยเหลือผู้เรียน และพบปะกับผู้ประกอบการ ศึกษาความต้องการของตลาดแรงงาน ที่มีต่อผู้เรียนอาชีวศึกษา ขยายผลสู่การพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตร หัวหน้างานทวิภาคี หัวหน้าแผนกวิชา ผู้บริหาร และสถานประกอบการ ร่วมกันระดมความคิด จัดทำแผนฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการ บูรณาการพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตรของสถานศึกษา มีนโยบายให้ทุกสาขาวิชา พัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ โดยร่วมกับสถานประกอบการ จัดการเรียนการสอน ระบบทวิภาคี เพื่อให้้ผู้เรียนมีสมรรถนะอาชีพสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและความต้องการของตลาดแรงงาน ครูผู้สอน จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ ตามหลักสูตรฐานสมรรถนะที่ได้จากการพัฒนามีการแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินหลักสูตร เพื่อปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง และมีการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะหรือปรับปรุงรายวิชา หรือปรับปรุงรายวิชาเดิม หรือกำหนดรายวิชาเพิ่มเติม ร้อยละ 100
เชิงคุณภาพ : ผลการประเมินอยู่ในระดับยอดเยี่ยม
ผลสะท้อน : ครูผู้สอน จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ ตามหลักสูตรฐานสมรรถนะที่ได้จากการพัฒนามีการแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินหลักสูตร เพื่อปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง และมีการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะหรือปรับปรุงรายวิชา หรือปรับปรุงรายวิชา หรือปรับปรุงรายวิชาเดิม หรือกำหนดรายวิชาเพิ่มเติม ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. การพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะหรือปรับปรุงรายวิชา หรือปรับปรุงรายวิชาเดิมหรือกำหนดรายวิชาเพิ่มเติม
เชิงปริมาณ : สถานศึกษาส่งเสริม สนับสนุน กำกับดูแลให้ครูพัฒนารายวิชาโดยปรับปรุงเนื้อหาสาระของรายวิชาเดิมให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี หรือกำหนดรายวิชาใหม่ หรือกลุ่มวิชาเพิ่มเติมตามความต้องการของตลาดแรงงานประเด็นการประเมินส่งเสริม สนับสนุน กำกับดูแลให้ครูศึกษา สำรวจข้อมูลความต้องการในการพัฒนารายวิชาหรือกลุ่มวิชา ให้ครูพัฒนารายวิชาหรือกลุ่มวิชาตามข้อ1 จากเอกสารอ้างอิงที่เชื่อถือได้หรือพัฒนาร่วมกับสถานประกอบการหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ให้ครูจัดการเรียนการสอนในรายวิชาหรือกลุ่มวิชาที่พัฒนาให้ถูกต้อง ครบถ้วน สมบูรณ์ ให้มีการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนำผลไปปรับปรุงแก้ไขรายวิชาหรือกลุ่มวิชาที่พัฒนา มีรายวิชาหรือกลุ่มวิชาที่พัฒนาตาม ครบทุกสาขางานที่จัดการเรียนการสอน คิดเป็นร้อยละ 100
เชิงคุณภาพ : ผลการประเมินอยู่ในระดับยอดเยี่ยม
ผลสะท้อน : วิทยาลัยฯ ได้แผนการเรียนรู้รายวิชาด้วยเทคนิควิธีการสอนที่หลากหลายที่มุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพ และบูรณาการ คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ที่มีคุณภาพและนำไปสู่กระบวนการจัดการเรียนการสอนจริงในชั้นเรียนโดยการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะหรือปรับปรุงรายวิชา หรือปรับปรุงรายวิชาเดิม หรือกำหนดรายวิชาเพิ่มเติม
3. อื่นๆ ที่สถานศึกษากำหนด
4.2.2 ด้านการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา ให้สถานศึกษารายงานผลสัมฤทธิ์ในการพัฒนาการจัดการอาชีวศึกษาด้านการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา
ตามรายการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาอาชีวศึกษา ดังนี้
1) ผลสัมฤทธิ์
1. คุณภาพของแผนการจัดการเรียนรู้สู่การปฏิบัติ
เชิงปริมาณ : วิทยาลัยฯ มีการพัฒนารายวิชาหรือกลุ่มวิชาและได้ส่งเสริม สนับสนุน กำกับดูแลให้ครูพัฒนารายวิชาหรือกลุ่มวิชา ได้แผนการเรียนรู้รายวิชาด้วยเทคนิควิธีการสอนที่หลากหลาย ที่มุ่งเน้น สมรรถนะอาชีพ และบูรณาการ คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง คุณภาพของแผนการจัดการเรียนรู้สู่การปฏิบัติ คิดเป็นร้อยละ 100
เชิงคุณภาพ : ผลการประเมินอยู่ในระดับยอดเยี่ยม
ผลสะท้อน : วิทยาลัยฯ ได้แผนการเรียนรู้รายวิชาด้วยเทคนิควิธีการสอนที่หลากหลาย ที่มุ่งเน้น สมรรถนะอาชีพ และบูรณาการ คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ที่มีคุณภาพและนำไปสู่กระบวนการจัดการเรียนการสอนจริงในชั้นเรียนคุณภาพของแผนการจัดการเรียนรู้สู่การปฏิบัติ
2. การจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้สู่การปฏิบัติที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญและนำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน
เชิงปริมาณ : วิทยาลัยฯ มีการพัฒนารายวิชาหรือกลุ่มวิชาและได้ส่งเสริม สนับสนุน กำกับดูแลให้ครูพัฒนารายวิชาหรือกลุ่มวิชา ได้แผนการเรียนรู้รายวิชาด้วยเทคนิควิธีการสอนที่หลากหลาย ที่มุ่งเน้นสมรรถนะ อาชีพ และบูรณาการ คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง คิดเป็นร้อยละ 100
เชิงคุณภาพ : ผลการประเมินอยู่ในระดับยอดเยี่ยม
ผลสะท้อน : วิทยาลัยฯ ได้แผนการเรียนรู้รายวิชาด้วยเทคนิควิธีการสอนที่หลากหลาย ที่มุ่งเน้น สมรรถนะอาชีพ และบูรณาการ คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ที่มีคุณภาพและนำไปสู่กระบวนการจัดการเรียนการสอนจริงในชั้นเรียน โดยแผนการจัดการเรียนรู้สู่การปฏิบัติที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
3. การจัดการเรียนการสอน
3.1 ครูผู้สอนมีการจัดทำข้อมูลผู้เรียนเป็นรายบุคคล
3.2 ครูผู้สอนมีการบริหารหรือรูปแบบการจัดการชั้นเรียนที่หลากหลาย
3.3 ครูผู้สอนมีการช่วยเหลือผู้เรียนเป็นรายบุคคลด้านการเรียนและอื่นๆ
4. การบริหารจัดการชั้นเรียน
4.1 คุณภาพของแผนการจัดการเรียนรู้สู่การปฏิบัติ ที่วิทยาลัยฯ กำหนดทิศทางการจัดการเรียนรู้มุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ดังนี้
4.1.1 ครูผู้สอนมีการวิเคราะห์หลักสูตรรายวิชา เพื่อกำหนดหน่วยการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นสมรรถนะ
4.1.2 แผนการจัดการเรียนรู้มีการบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม คุณลักษณะที่พึงประสงค์ และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
4.1.3 แผนการจัดการเรียนรู้มีการกำหนดรูปแบบการเรียนรู้สู่การปฏิบัติและกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ Active Learning
4.1.4 แผนการจัดการเรียนรู้มีการกำหนดการใช้สื่อ เครื่องมือ อุปกรณ์และเทคโนโลยีการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสม และนำมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน
4.1.5 แผนการจัดการเรียนรู้มีการกำหนดแนวทางการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง ด้วยรูปแบบ วิธีการที่หลากหลาย
4.2 การจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้สู่การปฏิบัติที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญและนำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน
- แผนการจัดการเรียนรู้ทั้งหมด จำนวน 1262 แผน
- แผนการจัดการเรียนรู้สู่การปฏิบัติที่มีคุณภาพ จำนวน 1262 แผน
4.2.1 การจัดการเรียนการสอน
- ครูผู้สอนที่มีแผนการจัดการเรียนรู้ครบทุกรายวิชาที่สอน จำนวน 76 คน
- ครูผู้สอนที่จัดการเรียนการสอนตรงตามแผนการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิควิธี จำนวน 76 คน การสอนที่หลากหลาย มีการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
- ครูผู้สอนที่ใช้สื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีทางการศึกษา และแหล่งเรียนรู้ จำนวน 76 คน ในการจัดการเรียนการสอน
- ครูผู้สอนที่ทำวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพจัดการเรียนรู้และแก้ปัญหา จำนวน 76 คน การจัดการเรียนรู้
4.2.2 การบริหารจัดการชั้นเรียน
- ครูผู้สอนที่จัดทำข้อมูลผู้เรียนเป็นรายบุคคล จำนวน 76 คน
- ครูผู้สอนที่มีข้อมูลสารสนเทศและเอกสารประจำชั้นเรียนและรายวิชาเป็นปัจจุบันจำนวน 76 คน
- ครูผู้สอนที่ใช้เทคนิควิธีการบริหารจัดการชั้นเรียนให้มีบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ จำนวน 76 คน
5. การพัฒนาตนเองและการพัฒนาวิชาชีพ
เชิงปริมาณ : สถานศึกษา ส่งเสริม สนับสนุน กำกับดูแล ให้มีจำนวนครูทั้งหมดเทียบกับจำนวนผู้เรียนทั้งหมดตามเกณฑ์มาตรฐานอัตรากำลังในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาให้ครูผู้สอนในแต่ละรายวิชาทุกคน เป็นผู้ที่จบการศึกษาตรงหรือสัมพันธ์กับรายวิชาที่สอน หรือเป็นผู้ที่ได้เข้ารับการศึกษาหรือฝึกอบรมเพิ่มเติมตรงหรือสัมพันธ์กับรายวิชาที่สอน 1) ครูผู้สอนที่จัดทำแผนพัฒนาตนเองและเข้าร่วมพัฒนาอาชีพ จำนวน 76 คน คิดเป็นร้อยละ 100 2) จำนวนครูผู้สอนที่ได้รับการพัฒนาตนเองอย่างน้อย 12 ชม.ต่อปี จำนวน 76 คน คิดเป็นร้อยละ 100 3) จำนวนครูผู้สอนที่นำผลจากผลการพัฒนาตนเองและการพัฒนาวิชาชีพมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน จำนวน 76 คน คิดเป็นร้อยละ 100 4) จำนวนครูผู้สอนที่มีผลงานจากการพัฒนาตนเองและการพัฒนาวิชาชีพ จำนวน 76 คน คิดเป็นร้อยละ 100 5) จำนวนครูผู้สอนที่มีนวัตกรรมจากการพัฒนาตนเองและการพัฒนาวิชาชีพที่ได้รับการยอมรับและเผยแพร่ จำนวน 76 คน คิดเป็นร้อยละ 100
เชิงคุณภาพ : วิทยาลัยฯ สถานศึกษา ส่งเสริม สนับสนุน กำกับดูแล ให้มีจำนวนครูทั้งหมดเทียบกับจำนวนผู้เรียนทั้งหมดตามเกณฑ์มาตรฐานอัตรากำลังในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ให้ครูผู้สอนในแต่ละรายวิชาทุกคน เป็นผู้ที่จบการศึกษาตรงหรือสัมพันธ์กับรายวิชาที่สอน หรือเป็นผู้ที่ได้เข้ารับการศึกษาหรือฝึกอบรมเพิ่มเติมตรงหรือสัมพันธ์กับรายวิชาที่สอน หรือเป็นผู้ที่ได้เข้ารับการศึกษาหรือฝึกอบรมเพิ่มเติมตรงหรือสัมพันธ์กับรายวิชาที่สอน อยู่ในระดับคุณภาพยอดเยี่ยม
ผลสะท้อน : ครูผู้สอนเป็นผู้ที่ได้รับการพัฒนาตนเอง เป็นที่ยอมรับจากองค์กรภายนอกตั้งแต่ระดับอาชีวศึกษา ซึ่งเห็นได้จากการที่ครูได้รับรางวัลครูผู้สอนดีเด่นในสาขาวิชาชีพต่างๆ อย่างมากมายโดยให้ครูผู้สอนในแต่ละรายวิชาทุกคน เป็นผู้ที่จบการศึกษาตรงหรือสัมพันธ์กับรายวิชาที่สอน หรือเป็นผู้ที่ได้เข้ารับการศึกษาหรือฝึกอบรมเพิ่มเติมตรงหรือสัมพันธ์กับรายวิชาที่สอน และได้ส่งเสริม สนับสนุน กำกับดูแล ให้ครูและบุคลากรทางการศึกษา ได้รับการประกาศเกียรติคุณ ยกย่องความรู้ ความสามารถ คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ จากหน่วยงานหรือองค์กรภายนอก ไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ของจำนวนครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งหมด อีกทั้งได้รับการอบรมด้านวิชาการหรือวิชาชีพและจรรยาบรรณวิชาชีพ ครู บุคลากรในวิทยาลัยฯ ได้รับการพัฒนาคุณภาพชีวิตและได้รับการประกาศเกียรติคุณยกย่องด้านวิชาการหรือวิชาชีพหรือจรรยาบรรณวิชาชีพ
6. การเข้าถึงระบบอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงเพื่อการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียน
เชิงปริมาณ : วิทยาลัยฯ ได้จัดระบบอินเตอร์เน็ต การเข้าถึงระบบความเร็วสูงเพื่อการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียนอย่างทั่วถึง ทุกอาคารเรียน มีการแก้ไขปัญหาและข้อบกพร่องของระบบเป็นไปได้อย่างรวดเร็ว มีระบบ Fire Wall ทั้งภายในและภายนอก (ติดตั้งมาพร้อมกับอุปกรณ์) มีระบบ Authentication สำหรับผู้บริหาร ครู เจ้าหน้าที่และนักเรียนนักศึกษาเพื่อกำหนดสิทธิการเข้าถึงระบบฐานข้อมูลอย่างชัดเจนและทันสมัยติดตั้งระบบ Anti virus ทั้งระบบ Server และ Client มีการพัฒนาเวปไซต์ของวิทยาลัยฯ ที่อัพเดตและให้บริการข้อมูลอย่างสม่ำเสมอ และระบบสำรองข้อมูลใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยและเป็นปัจจุบัน
เชิงคุณภาพ : มีผลการประเมินอยู่ในระดับคุณภาพดีเยี่ยม
ผลสะท้อน : ศูนย์ข้อมูลและสารสนเทศมีอุปกรณ์ประกอบระบบที่ทันสมัย การให้บริการและการอัพเดทข้อมูลสารสนเทศเป็นปัจจุบัน
7. อื่นๆ ที่สถานศึกษากำหนด
4.2.3 ด้านการบริหารจัดการ ให้สถานศึกษารายงานผลสัมฤทธิ์ในการพัฒนาการจัดการอาชีวศึกษาด้านการบริหารจัดการ
ตามรายการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาอาชีวศึกษา ดังนี้
1) ผลสัมฤทธิ์
1. การบริหารจัดการระบบฐานข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการสถานศึกษา
1.1 การเข้าถึงระบบความเร็วสูงเพื่อจัดการในสำนักงานอย่างทั่วถึง
เชิงปริมาณ : วิทยาลัยฯ ได้จัดระบบอินเทอร์เน็ต การเข้าถึงระบบความเร็วสูงเพื่อจัดการในสำนักงานอย่างทั่วถึง ทุกอาคาร มีการแก้ไขปัญหาและข้อบกพร่องของระบบเป็นไปได้อย่างรวดเร็ว มีระบบ Fire Wall ทั้งภายในและภายนอก (ติดตั้งมาพร้อมกับอุปกรณ์) มีระบบ Authentication สำหรับผู้บริหาร ครู เจ้าหน้าที่และนักเรียนนักศึกษาเพื่อกำหนดสิทธิการเข้าถึงระบบฐานข้อมูลอย่างชัดเจนและทันสมัย ติดตั้งระบบ Anti Virus ทั้งระบบ Server และ Client มีการพัฒนาเวปไซต์ของวิทยาลัยฯ ที่อัพเดตและให้บริการข้อมูลอย่างสม่ำเสมอ และระบบสำรองข้อมูลใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยและเป็นปัจจุบัน
เชิงคุณภาพ : มีผลการประเมินอยู่ในระดับคุณภาพดีเยี่ยม
ผลสะท้อน : ศูนย์ข้อมูลและสารสนเทศมีอุปกรณ์ประกอบระบบที่ทันสมัย การให้บริการและการอัพเดทข้อมูลสารสนเทศเป็นปัจจุบัน
1.2 การเข้าถึงระบบอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงเพื่อการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียน
เชิงปริมาณ : วิทยาลัยฯ ได้จัดระบบอินเทอร์เน็ต การเข้าถึงระบบความเร็วสูงเพื่อการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียนอย่างทั่วถึง ทุกอาคารเรียน มีการแก้ไขปัญหาและข้อบกพร่องของระบบเป็นไปได้อย่างรวดเร็วมีระบบ Fire Wall ทั้งภายในและภายนอก (ติดตั้งมาพร้อมกับอุปกรณ์) มีระบบ Authentication สำหรับผู้บริหาร ครู เจ้าหน้าที่และนักเรียนนักศึกษาเพื่อกำหนดสิทธิ์การเข้าถึงระบบฐานข้อมูลอย่างชัดเจนและทันสมัยติดตั้งระบบ Anti virus ทั้งระบบ Server และ Client มีการพัฒนาเวปไซต์ ของวิทยาลัยฯ ที่อัพเดตและให้บริการข้อมูลอย่างสม่ำเสมอ และระบบสำรองข้อมูลใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยและเป็นปัจจุบัน
เชิงคุณภาพ :มีผลการประเมินอยู่ในระดับคุณภาพดีเยี่ยม
ผลสะท้อน : ศูนย์ข้อมูลและสารสนเทศมีอุปกรณ์ประกอบระบบที่ทันสมัย การให้บริการและการอัพเดทข้อมูลสารสนเทศเป็นปัจจุบัน
2. อาคารสถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ โรงฝึกงานหรืองานฟาร์ม
เชิงปริมาณ : วิทยาลัยฯ ได้พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน อาคารสถานที่ ห้องปฏิบัติการ และการจัดหาเครื่องมืออุปกรณ์การศึกษาที่เหมาะสม รวมทั้งระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการเรียนรู้ โดยกำหนดการปฏิบัติงานไว้ในแผนงบประมาณประจำปีของสถานศึกษาพร้อมทั้งได้ดำเนินการพัฒนาและดูแลสภาพแวดล้อมและภูมิทัศน์ของสถานศึกษาและการใช้อาคารสถานที่ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการโรงฝึกงาน ศูนย์วิทยบริการร่วมกันระหว่าง ฝ่ายบริหารทรัพยากร ฝ่ายวิชาการ และสาขาวิชาต่างๆ มีการติดตามประเมินผลการใช้ห้องเรียน และนำผลมาปรับปรุงการพัฒนาสถานศึกษา จากการบริหารจัดการการพัฒนาและดูแลสภาพแวดล้อม ภูมิทัศน์ของสถานศึกษามีการกำกับดูแลการใช้อาคารสถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ โรงฝึกงาน ศูนย์วิทยบริการ และมีการกำกับดูแลในการจัดหา การใช้ การบำรุงรักษาครุภัณฑ์ รวมทั้งมีข้อมูลพื้นฐาน 9 ประเภท ได้แก่ ข้อมูลทั่วไปของสถานศึกษา ข้อมูลผู้เรียน ข้อมูลตลาดแรงงาน ข้อมูลครูและบุคลากรทางการศึกษา ข้อมูลงบประมาณและการเงิน ข้อมูลหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน ข้อมูลครุภัณฑ์ข้อมูลอาคารสถานที่ และข้อมูลพื้นฐานของจังหวัด และมีการนำเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มาใช้ในการบริหารจัดการระบบฐานข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ และเกิดประโยชน์ต่อผู้เกี่ยวข้อง อย่างน้อย 4 ประเภท โดยมีรายละเอียดการดำเนินการดังนี้
2.1 มีหัวหน้าอาคารสถานที่ นักการภารโรง ทำหน้าที่ดูแลงานด้านอาคารสถานที่และสิ่งแวดล้อมตลอดจนมีระบบยามรักษาการณ์ทำหน้าที่ดูแลความปลอดภัยตลอด 24 ชั่วโมง
2.2 มีการใช้พื้นที่ในโรงฝึกงาน ห้องปฏิบัติการ ห้องเรียน ได้มอบให้แผนกวิชา อาจารย์ประจำวิชา อาจารย์ผู้สอนเป็นผู้กำกับดูแล วางแผนการใช้งาน ประเมินการใช้งานเพื่อให้เกิดประโยชน์การใช้สอยสูงสุด
2.3 มีการวางแผนและดำเนินการในการพัฒนาห้องเรียนให้มีสภาพแวดล้อมที่น่าเรียนจัดเครื่องอำนวยความสะดวกและจัดครุภัณฑ์ประจำห้อง โดยจัดพื้นที่ฝึกทักษะด้านปฏิบัติได้กำหนดเครื่องมืออุปกรณ์เครื่องจักรให้เหมาะสมต่อการฝึกปฏิบัติ และจัดระบบความปลอดภัยเป็นไปตามมาตรฐานวิชาชีพ ภายใต้ข้อจำกัดด้านงบประมาณสนับสนุน
2.4 แผนกวิชาและอาจารย์ประจำวิชาได้ร่วมมือกัน จัดระบบความปลอดภัยในการใช้อุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ในห้องปฏิบัติการ โรงฝึกงาน โดยมีป้ายเตือน มีการให้คำแนะนำที่ถูกต้องแก่ผู้เรียน
2.5 มีการจัดระบบโรงฝึกงาน ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน เช่น จัดกิจกรรม 5 ส. นักเรียน-นักศึกษาเป็นเจ้าหน้าที่จ่ายวัสดุ ครุภัณฑ์ในระหว่างฝึกปฏิบัติงานและมีการจัดเวรให้ผู้เรียนรักษาความสะอาดดูแลความเรียบร้อยหลังการฝึกปฏิบัติทุกครั้ง
2.6 มีการจัดตกแต่งบริเวณอาคารสถานที่ให้มีความร่มรื่น สวยงามน่าอยู่อาศัย ประกอบด้วยมุมพักผ่อน สวนหย่อม สระน้ำ มีความสะดวก ปลอดภัย สะอาด และเกิดประโยชน์อย่างมีประสิทธิภาพ
เชิงคุณภาพ : ด้านอาคารสถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ โรงฝึกงานหรืองานฟาร์ม มีระดับคุณภาพยอดเยี่ยม
ผลสะท้อน : วิทยาลัยฯ มีอาคารสถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ โรงฝึกงานหรืองานฟาร์ม จำนวนเพียงพอต่อจำนวนนักเรียน นักศึกษาและบุคลากร และบุคคลภายนอกที่เข้ามาใช้บริการของสถานศึกษา
3. ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐาน
เชิงคุณภาพ : วิทยาลัยฯ ได้พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน อาคารสถานที่ ห้องปฏิบัติการ และการจัดหาเครื่องมือ อุปกรณ์การศึกษาที่เหมาะสม รวมทั้งระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการเรียนรู้ โด